This article is from ECHO Asia Note #30
โดย แบรด วอร์ด
[บรรณาธิการ: คุณแบรด วอร์ด เป็นสมาชิกของทีมเอคโคจากรัฐฟลอริดา และได้เขียนบทความที่เป็นประโยชน์อย่างมากในหัวข้อ “เพอร์มาคัลเชอร์ในงานพัฒนา” ในสาร ECHO Development Notes เมื่อไม่นานมานี้ เราได้รับการติดต่อสอบถามเข้ามามากมายเกี่ยวกับเพอร์มาคัลเชอร์ และการนาไปใช้เพื่อพัฒนาการเกษตร ดังนั้นเราจึงตัดสินใจตีพิมพ์อีกครั้งหนึ่งเพื่อ่ให้เป็นทางเลือกที่จะเป็นประโยชน์และอาจนาไปใช้ได้กับงานที่ท่านทาอยู่ และเรายินดีหากท่านมีข้อเสนอหรือความคิดเห็นที่จะส่งกลับมายังเรา]
คานา
คาว่าเพอร์มาคัลเชอร์ (Permaculture) ปรากฏให้เห็นบ่อยขึ้นในการปราศัย ในหนังสือ และบทความในนิตยสารที่เกี่ยวกับความยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร คาว่าเพอร์มาคัลเชอร์คืออะไร? คือกลุ่มเคลื่อนไหว? คือหลักปรัชญา? หรือเป็นแค่วิธีการออกแบบธรรมดาๆ? ในบทความนี้ ผมจะขอตอบคาถามเหล่านี้ด้วยการมองเพอร์มาคัลเชอร์จากหลายๆด้าน ช่วงแรกผมจะอธิบายประวัติของเพอร์มาคัลเชอร์, หลักจริยศาสตร์ รวมถึงหลักการและข้อปฏิบัติที่สาคัญ จากนั้นผมจะพูดถึงข้อคิดเห็นและคาวิจารณ์เกี่ยวกับเพอร์มาคัลเชอร์ และอธิบายมุมมองพื้นฐานที่จะนาเพอร์มาคัลเชอร์ไปปรับใช้เพื่อให้เป็นทางออกสาหรับปัญหาเรื่องอาหาร น้าและที่อยู่อาศัยของคนในชุมชน (เช่น ในมุมมองของนักเพอร์มาคัลเชอร์ที่มีต่อการพัฒนา) และสุดท้าย ผมจะแบ่งปันประสบการณ์ว่าเพอร์มาคัลเชอร์มีอิทธิพลอย่างไรในชีวิตและการทางานของผม ทั้งในฐานะคริสเตียนและนักพัฒนาการเกษตร
คาจากัดความ
คาว่าเพอร์มาคัลเชอร์ (Permaculture) เป็นคาที่เกิดขึ้นโดยบิล มอลลิสัน โดยมาจากคาว่า "permanent" (แปลว่า“ถาวร”) และ ―agriculture‖ (แปลว่า “เกษตร”) แนวคิดของเพอร์มาคัลเชอร์นั้นยากที่จะอธิบายเพียงคาไม่กี่คา เพราะคานี้เป็นคาที่ใช้อธิบาย (มักจะควบคู่กันไป) ทั้งโลกทัศน์/ปรัชญาสาหรับการดารงชีวิตบนโลกนี้และเป็นทั้งหลักการออกแบบและนาไปใช้
บิล มอลลิสันได้เน้นถึงมุมมองด้านปรัชญาไว้ในคาจากัดความของท่านว่า “เพอร์มาคัลเชอร์ คือหลักปรัชญาในการทางานร่วมกับธรรมชาติ ไม่ใช่การต่อต้านกับธรรมชาติ เป็นการสังเกตและความใส่ใจที่ต้องใช้เวลานานมากกว่าการใช้แรงงานไปนานๆโดยไม่คิด และเป็นการมองที่พืชและสัตว์จากหน้าที่โดยรวมแทนที่จะทาให้ด้านใดด้านหนึ่งของพืชและสัตว์กลายเป็นระบบการผลิตแบบเชิงเดี่ยวไป‖ (Mollison 1988)
ราฟเตอร์ เฟอร์กุสัน ผู้ซึ่งเป็นนักวิจัยและนักปฏิบัติหลักการเพอร์มาคัลเชอร์ที่น่านับถือท่านหนึ่ง ได้กล่าวถึงเพอร์มาคัลเชอร์ ไว้อย่างสวยงามและครอบคลุมว่า “เพอร์มาคัลเชอร์ กาลังเป็นคาตอบให้กับสิ่งที่มนุษย์ต้องการและขณะเดียวกันก็เป็นสิ่งเสริมสร้างสุขภาพของระบบนิเวศน์” (Ferguson 2012) เพื่อหลีกเลี่ยงแนวคิดที่อธิบายสิ่งที่ซับซ้อนด้วยคาอธิบายสั้นๆ(Reductionism) ราฟเตอร์จึงมีข้อความเตือนถึงความหมายสั้นๆที่เขาได้ให้ไว้ดังนี้ “ผมสนับสนุนความหมายสั้นๆนี้ในบริบทของมันตราบใดที่ความหมายนี้ถูกนาไปใช้เพื่อสื่อสารถึงหลักการไม่ใช่เพื่อปิดบังปัญหาซับซ้อนที่อธิบายไม่ได้‖ (Ferguson 2013b)
ส่วนความหมายของเพอร์มาคัลเชอร์ของผมเป็นดังนี้: เพอร์มาคัลเชอร์คือหลักจริยศาสตร์, หลักการ และข้อปฏิบัติที่ช่วยนาทางในการดูแลรักษาระบบนิเวศน์เพื่อให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศน์มั่นคงเข้มแข็งและมีความหลากหลาย
บุคคลสาคญั และงานเขยีน
บลิ มอลลิสัน (เกดิ 1928) ถือเป็นบดิ าแห่งเพอร์มาคัลเชอร์ ในปี 1978 ท่านไดร้ ่วมมือกับเดวดิ โฮล์มเกรนเขียนหนังสือหลักการเบอื้ งตน้ ของเพอร์มาคัลเชอร์ชอื่ ว่า “Permaculture One” นอกจากนี้บลิ มอลลิสันยังไดเ้ ขียนหนังสือ“Permaculture: A Designers‘ Manual” ซงึ่ เป็นคู่มือของนักออกแบบเพอร์มาคัลเชอร์ และตีพิมพ์ในปี 1988 หนังสือความยาว 400 หนา้ นี้ไดปู้พื้นฐานหลักปรัชญา หลักการและหลักปฏบิ ัตเิ บื้องตน้ เกี่ยวกับเพอร์มาคัลเชอร์ และบลิ มอลลิสันยังเป็นผู ้ก่อตัง้ สถาบันเพอร์มาคัลเชอร์ในรัฐแทสมาเนีย ประเทศออสเตรเลีย และออกแบบระบบการฝึกอบรมเพอื่ ทาการอบรมแก่ผูส้ นใจทเี่ กยี่ วขอ้ งกับเพอร์มาคัลเชอร์
เดวิด โฮล์มเกรน (เกดิ 1955) เป็นผูร้ ่วมก่อตัง้ แนวคดิ เพอร์มาคัลเชอร์กับมอลลสิ ัน ท่านเป็นนักออกแบบเพอร์มาคัลเชอร์ชาวออสเตรเลีย เป็นนักสอนระบบนิเวศน์และนักเขียน หนังสือของท่านที่เขียนในปี 2002 ชื่อว่า “Permaculture: Principles andPathways Beyond Sustainability” (เพอร์มาคัลเชอร์:หลักการและแนวทางเหนือความยงั่ ยืน) ไดน้ าเสนอมุมมองต่างๆที่เป็นคาแนะนาในการนาหลักการของเพอร์มาคัลเชอร์ไปปฏิบัตใิ ช ้ โฮล์มเกรนไดพั้ฒนาปรับปรุงหลักการเหล่านั้นดว้ ยประสบการณ์ทมีี่มากว่า 25 ปี
นักเขียนอีกสองท่านที่มีแนวคิดสาคัญเกี่ยวกับหลักการของเพอร์มาคัลเชอร์คือ พี.เอ โยแมนส์ (1904-1984) และมาซาโนบุฟูกูโอกา (1913-2008)
พี.เอ โยแมนส์เป็นชาวออสเตรเลียที่เป็นที่รูจั้กในฐานะผูค้ น้ พบระบบคีย์ไลน์ (Keyline System) ที่ใชป้ รับปรุงดินและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน แนวคดิ คีย์ไลน์ของท่านกลายเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการเรียนการสอนเกี่ยวกับการเกษตรแบบยงั่ ยืนในวิทยาลัยและมหาวทิ ยาลัยต่างๆทั่วโลก นอกจากนี้ท่านยังเขียนหนังสืออีก 4 เล่มคือ The Keyline Plan (แผนคีย์ไลน์); The Challenge of Landscape (ปัญหาภูมทิ ัศน์; Water for Every Farm (น้าสา หรับทุกฟาร์ม); และ The City Forest (ป่ าในเมือง)
มาซาโนบุ ฟูกุโอกา เป็นเกษตรกรและนักปรัชญาชาวญี่ปุ่น ท่านส่งเสริมวิธีการเพาะปลูกในฟาร์มแบบไม่ไถพรวน ไม่ใส่ยาฆ่าแมลง และได้ริเริ่มวิธีเฉพาะในการทาการเกษตรที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า “เกษตรธรรมชาติ” หรือ “การเกษตรแบบไม่ต้องทาอะไร” นอกจากนี้ท่านยังเขียนหนังสือภาษาญี่ปุ่นอีกหลายเล่ม รวมถึงรายงานวิทยาศาสตร์อื่นๆ และที่มีชื่อเสียงคือ The One-Straw Revolution (ปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟางเส้นเดียว)
เนื่องจากไม่นานมานี้ ความนิยมของเพอร์มาคัลเชอร์มีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มีการเขียนหนังสือออกมาหลายเล่มเพื่อช่วยอธิบายแนวคิดเบื้องต้นหรือเพื่อลงลึกถึงระบบหรือวิธีปฏิบัติแบบใดแบบหนึ่งที่เฉพาะลงไป หนังสือและเว็บไซท์ที่เกี่ยวกับงานเขียนเหล่านี้ได้นาเสนอไว้แล้วในตอนท้ายของบทความ
เพอร์มาคัลเชอร์ในฐานะรูปแบบหนึ่งของการเคลื่อนไหว
นักปฏิบัติและครูผู้สอนเรื่องหลักการเพอร์มาคัลเชอร์จะคิดใคร่ครวญอย่างดีเกี่ยวกับระบบธรรมชาติ และโดยเฉพาะเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับระบบเหล่านั้น เนื่องจากเทคโนโลยีทาให้มนุษย์มีความสามารถเพิ่มขึ้นในการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์ทั้งหมดได้อย่างรวดเร็วและในพื้นที่ที่กว้างขึ้น นักปฏิบัติหลักการเพอร์มาคัลเชอร์มักพบว่าตนเองตกอยู่ในที่นั่งลาบากที่จะต้องต่อสู้ระหว่างความโลภของคนกับสภาพความเป็นอยู่ของโลกในระยะยาว ดังนั้น กลุ่มเคลื่อนไหวเพอร์มาคัลเชอร์จึงรวมตัวกันเป็นกลุ่มใหญ่ขึ้นด้วยผู้ที่มีความต้องการจะรักษาระบบธรรมชาติและต้องการบรรเทา/ฟื้นฟูความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการแสวงหาประโยชน์อย่างไม่มีการควบคุมมาเป็นระยะเวลานาน เสียงของเพอร์มาคัลเชอร์ในขบวนการนี้มีคุณค่าเพราะเป็นเสียงที่นาเสนอทางเลือกที่ดีที่กว่าที่นาไปปฏิบัติได้
เพอร์มาคัลเชอร์ในฐานะขบวนการออกแบบชุมชนมนุษย์และระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติ
เมื่อใช้กรอบแนวคิดของเพอร์มาคัลเชอร์ ขบวนการออกแบบจะต้องผ่านหลายระดับ เริ่มจากหลักจริยศาสตร์ ไปยังหลักการ กลยุทธการออกแบบ และสุดท้ายคือด้านเทคนิคหรือการนาไปใช้
I. หลักจริยศาสตร์
ไม่ว่าจะมองเพอร์มาคัลเชอร์ว่าเป็นหลักปรัชญา รูปแบบหนึ่งของการเคลื่อนไหว หรือขบวนการออกแบบ เพอร์มาคัลเชอร์จะตั้งอยู่บนหลักจริยศาสตร์ 3 อย่างคือ 1) ดูแลโลก; 2) ดูแลผู้คน; and 3) จากัดการบริโภคและแพร่พันธุ์ และจัดสรรส่วนเกิน (Holmgren 2002) คนส่วนใหญ่ไม่มีปัญหาในหลักจริยศาสตร์สองข้อแรก แต่แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมประชากรและการจัดสรรใหม่มักจะถูกโต้แย้งอย่างมาก และด้วยเหตุนี้ นักเขียนเพอร์มาคัลเชอร์และครูผู้สอนจึงได้เรียบเรียงปรับปรุงหลักข้อที่สามใหม่ว่า “จัดสรรอย่างยุติธรรม” หรือ “ดูแลอนาคต”
II. หลักการ – บิล มอลลิสัน
ในหนังสือคู่มือ Permaculture: A Designers‘ Manual ที่เขียนด้วยมอลลิสัน (1988) มีการสรุปหลักการสาคัญของการออกแบบเพอร์มาคัลเชอร์ไว้ 5 ประโยค [พิมพ์ด้วยตัวหนา และคาอธิบายจากผู้เขียน]:
- ทางานรวมกับธรรมชาติ แทนการตวอต้านธรรมชาติ ข้อความนี้เหมือนบอกความหมายชัดเจนแล้ว แต่เราที่เป็นมนุษย์มักจะพยามและ “ทาตามความคิดของตัวเอง” เมื่อถึงคราวที่ต้องพัฒนาระบบการเกษตรของตัวเอง ทาให้เกิดความล้มเหลวที่ไม่น่าจะเกิดขึ้น ทาให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินความจาเป็น และเกิดความเสียหายต่อระบบนิเวศน์เป็นวงกว้าง ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเป็นอย่างดีคือการปลูกพืชเชิงเดี่ยวในพื้นที่ขนาดใหญ่ ซึ่งถือเป็นตัวอย่างของการต่อต้านธรรมชาติ
- ปัญหาคือคาตอบ ถ้าเรายินดีที่จะมองปัญหาจากมุมมองอื่นบ้าง เราจะพบว่าแท้จริงแล้ว “ปัญหา” คือคาอธิบายสาหรับส่วนอื่นของระบบนิเวศน์ ตัวอย่างที่ดีของเรื่องนี้มาจากคาพูดของมอลลิสันที่เป็นที่รู้จักดี คือ “คุณไม่ได้มีปัญหาเรื่องหอย แต่คุณมีปัญหาเรื่องการไม่มีเป็ด!”
- เปลี่ยนแปลงน้อยที่สุดเพื่อเกิดผลมากที่สุด ใช้ความคิดที่รอบคอบแก้ปัญหาตรงจุดสาคัญที่สุดในระบบนิเวศน์จะนามาซึ่งผลที่คุ้มค่าที่สุดต่อเวลาและทรัพยากรที่ลงทุนไป ตัวอย่างของหลักการนี้คือ เทคโนโลยีการเกษตรบนพื้นที่ลาดชัด (S.A.L.T. หรือ Sloping Agricultural Land Technology) สาหรับการเพาะปลูกบนพื้นที่ตามไหล่เขา ที่ใช้วิธีการปลูกต้นไม้ไปตามแนว (จุดสาคัญ) ทาให้ลดการกัดเซาะ เกิดเป็นขั้นบันได และรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน และอาจยังทาให้ดินอุดมสมบูรณ์เพิ่มขึ้นอีก
- ตามหลักแล้ว ผลผลิตจากระบบมีไมวจากัด หลักการนี้อาจพูดได้อีกอย่างคือ ความรู้และความคิดจินตนาการของเราคือสิ่งที่ไปจากัดศักยภาพของผลผลิตที่ยั่งยืนในระบบนิเวศน์ นักออกแบบเพอร์มาคัลเชอร์ทางานเพื่อให้เกิดชั้นของความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยกันในระบบนิเวศน์ แนวคิดนี้เห็นได้จากตัวอย่างของระบบวนเกษตร ที่มีชั้นของสิ่งมีชีวิตมากมายทางานร่วมกันเพื่อปกป้องและเอื้อประโยชน์ให้กันและกัน รวมถึงช่วยเพิ่มศักยภาพผลผลิตโดยรวมและ (มักจะ)เพิ่มผลผลิตของพืชแต่ละอย่าง “หน้าที่หลายอย่าง” เป็นอีกแนวคิดหนึ่งที่เป็นตัวอย่างที่ดีของหลักการนี้คือการเลือกพืชและสัตว์ในการออกแบบเพื่อให้ทาหน้าที่มากกว่าหนึ่งอย่างและให้ผลผลิตมากกว่าหนึ่งผลผลิต ฝูงไก่เป็นตัวอย่างที่ดีของแนวคิดนี้เพราะไก่ให้เนื้อเป็นอาหาร, ให้ขน, ขี้ไก่, การคุ้ยเขี่ยพรวนดิน, ควบคุมปริมาณหญ้า, ควบคุมปริมาณแมลง, ฯลฯ
- ทุกอยวางมีหน้าที่ (หรือสวงผลตวอสิ่งแวดล้อมที่มันอยูว) ทุกส่วนของระบบนิเวศน์มีอิทธิพลโดยตรงต่อส่วนอื่นในระบบและมีอิทธิพลโดยรวมต่อระบบทั้งหมด ในระบบที่ซับซ้อน การเปลี่ยนแปลงจะนามาซึ่งผลที่ไม่ได้คาดคิดไว้ ดังนั้นการสังเกตอย่างตั้งใจเป็นระยะเวลานานๆจะช่วยลดความเสียหายที่ไม่คาดคิดได้
III. หลักการ – เดวิด โฮล์มเกรน
ในหนังสือของโฮล์มเกรนที่ชื่อว่า Permaculture: Principles and Pathways Beyond Sustainability (2002) (หลักการและแนวทางที่เหนือกว่าความยั่งยืน) เขาได้เพิ่มจานวนหลักการเพอร์มาคัลเชอร์เป็น 12 หลักการ [พิมพ์ด้วยตัวหนา และคาอธิบายจากผู้เขียน] หลักการนี้มีวิธีที่เป็นระบบกว่าและต่างกันเล็กน้อยในส่วนที่เป็นการเริ่มต้นตัดสินใจในการทาหน้าที่ผู้ดูแลรักษาระบบนิเวศน์ที่ซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
- สังเกตและทางานรวมกัน ใช้เวลาให้มากๆในการสังเกตระบบนิเวศน์ก่อนที่จะเริ่มสร้างหรือลงมือทาการเกษตร การทาเช่นนี้ก่อนจะช่วยให้เราสร้างหรือทาการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนได้มากที่สุด
- จับและเก็บพลังงาน พลังงานมากมายหลายชนิดหลั่งไหลเข้าและออกจากระบบนิเวศน์ ให้ใช้ประโยชน์ของพลังงานเหล่านี้ให้ได้มากที่สุด และทาให้พลังงานสูญเสียให้น้อยที่สุด แหล่งของพลังงานได้แก่ แสงอาทิตย์ น้า เมล็ดพืช ความร้อนที่มีอยู่ในธรรมชาติ (เช่นในหินและน้า) ลม และอินทรียวัตถุ (ในดินและปุ๋ยหมัก)
- รับผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์ เมื่อทาการปลูกพืชเพื่ออาหาร พลังงาน เครื่องนุ่งห่ม และ/หรือความสวยงาม เราคาดหวังว่าจะได้รับผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์ ส่วนหนึ่งของหน้าที่ในการดูแลรักษา(Stewardship) เกี่ยวข้องกับการแบ่งปันผลที่อุดมสมบูรณ์ให้กันและกัน
- ใช้กฏเกณฑ์ของตนเองและตอบสนองตวอผลได้รับจากการประเมิน ผลเชิงลบที่เกิดขึ้นอาจทาให้เห็นว่าสิ่งที่ทาอยู่เป็นวิธีการที่ไม่ยั่งยืน และอาจหมายความว่าเราจะต้องเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง ส่วนผลเชิงบวกที่มากเกินไปอาจไม่เป็นผลดีนัก เป้าหมายของเราคือความสมดุล สาหรับผู้ที่คุ้นเคยกับการมองโครงการเกษตรและ/หรืองานพัฒนาว่าเป็นปัญหาที่จะต้องแก้ไข การประเมินสัญญาณผลเชิงลบที่ได้อาจทาได้อย่างตรงไปตรงมา ส่วนการประเมินผลเชิงบวกที่มากเกินเป็นเรื่องที่ต้องสังเกตให้ดีและเข้าใจได้ยากกว่า ตัวอย่างเช่น เป็นเวลาหลายสิบปีมาแล้วที่การปลูกพืชเชิงเดี่ยวในพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นสัญลักษณ์ของการเกษตรสมัยใหม่ที่ประสบความสาเร็จ โดยที่ผลกระทบเชิงลบที่มีต่อสภาพแวดล้อมและมนุษย์ในระบบนี้ถูกมองข้ามไป และเหลือเพียงแค่การตัดสินโดยให้เหตุผลเพียงง่ายๆจากสิ่งที่มองเห็นคือกาลังการผลิตอันมหาศาลที่ได้มาซึ่งวัตถุดิบที่นาไปใช้เป็นพลังงานราคาถูกและผลประโยชน์ของบริษัท เป็นเรื่องยากที่จะปฏิเสธระบบที่มีอานาจแบบนี้ที่ได้มาซึ่งผลกาไรในระยะเวลาอันสั้น (ซึ่งก็คือผลเชิงบวกที่มากเกินไป) ถึงแม้เราจะรับรู้ว่าจะต้องเกิดความเสียหายทั้งกับคนและโลกของเรา
- ใช้ประโยชน์และเห็นคุณควาของทรัพยากรที่ใช้ไมวหมดและทรัพยากรอื่นๆ ระมัดระวังในการใช้ทรัพยากรที่ไม่มีทดแทน และคอยหาทางฟื้นฟูทรัพยากร คิดอยู่เสมอว่ามีอะไรที่จะนามาใช้ได้
- ไมวผลิตของเสีย ถ้าจะให้ดี ทุกอย่างที่เราต้องการใช้ควรนามาจากพื้นที่ที่เราอยู่ และวัสดุเหลือใช้ต่างๆควรนามาทาเป็นวัตถุดิบและใช้กับส่วนอื่นในระบบ
- ออกแบบจากโครงสร้างไปสูวรายละเอียด จัดการภาพใหญ่ก่อน แล้วอย่างอื่นก็จะชัดเจนขึ้นหลังจากนั้น องค์ประกอบที่เป็นปัจจัยของภาพใหญ่ได้แก่ สภาพอากาศ สภาพภูมิประเทศ และมุมขึ้นลงของพระอาทิตย์ การนาสิ่งเหล่านี้มาพิจารณาในช่วงแรกเป็นสิ่งที่สาคัญมากต่อการตัดสินใจอื่นๆที่จะตามมา และปัจจัยเหล่านี้จะเป็นสิ่งที่กาหนดโครงสร้างของการออกแบบ นักออกแบบเพอร์มาคัลเชอร์จะใช้กลวิธีส่วนและเขต (Sectors and Zones) (ดูรายละเอียดส่วนต่อไป) เพื่อช่วยพิจารณาโครงสรา้ งการออกแบบโดยรวมทัง้ หมด จากนั้นจึงจะนาไปสู่วธิ ีการและพืชทจี่ ะนามาปลูก
- ใช้การผสมผสานแทนการแยกออก ทุกองค์ประกอบของระบบมีจุดแข็งและจุดอ่อน สาหรับหลักการเพอร์มาคัลเชอร์ เราสามารถใชค้ วามจริงขอ้ นใี้ หเ้ ป็นประโยชน์ดว้ ยการจับคอู่ งค์ประกอบใหส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการ เพอื่ ให้แต่ละองค์ประกอบสามารถช่วยกันและเติบโตไปพรอ้ มกันอย่างมั่นคง ตัวอย่างเช่นสวนผักรูกุญแจ (KeyholeGarden) ที่มีระบบการใชป้ ุ๋ยหมักผสมผสานโดยตรงในแปลงผัก การทาสวนผักรูกุญแจ่ใกลๆ้ กับในครัวเป็นการผสมผสานระบบไดม้ ากขนึ้ ดว้ ยการสรา้ งพนื้ ทใี่ กลๆ้ เพอื่ จะไดมี้ผักสดไวก้ นิ และมีทรี่ องรับเศษพืชและเศษอาหารให้มาอยใู่ กลกั้บบรเิ วณใชง้ านเพื่อลดแรงงาน
- แกปั้ญหาทลี ะเล็กทลี ะนอ้ ยและทาไปอยวางช้าๆ การเปลยี่ นแปลงแบบเล็กนอ้ ยและชา้ ๆทาใหเ้ กดิ ความเขม้ แข็งมนั่ คงและหลากหลาย ทาใหร้ ะบบเกดิ การปรับตัว ช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงของผลที่ไม่ตอ้ งการใหน้ อ้ ยลงได ้
- ใช้ประโยชนแ์ละเห็นคุณควาของความหลากหลาย ความหลากหลายคือรากฐานของความมนั่ คงแข็งแรง
- ใช้ประโยชนจ์ากชายขอบและเห็นคุณควาของสงิ่เล็กนอ้ย ชายขอบระหว่างส่วนระบบนิเวศน์แต่ละส่วนและชายขอบระหว่างพนื้ทที่มีี่ภูมอิ ากาศต่างกันเป็นบริเวณทมีี่ความหลากหลายและมศี ักยภาพสูง สงิ่ มีชวี ิตหลายสายพันธุ์สามารถดารงชีวติ อยู่ไดดี้ในทัง้ สองส่วนของพนื้ ททีี่ตดิ ต่อกันและใช ้ประโยชน์ไดจ้ ากทัง้ สองส่วนนั้น และสามารถเพมิ่ ปริมาณผลผลิตใหกั้บระบบโดยรวมทงั้ หมด
- ใช้ประโยชนอ์ยวางสรา้งสรรคแ์ละปรบัตวัตามความเปลยี่นแปลง สงิ่ต่างๆเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซงึ่ เป็นเรอื่ งธรรมดาอยแู่ ลว้ ดังนั้นจึงควรปรับตัวต่อการเปลยี่ นแปลงดว้ ยการปรับเปลยี่ นอยเู่ สมอ และอย่ายอมแพ้
IV. ออกแบบวธิ ีปฏบิ ตั ิ
การเชื่อมโยงหลักจริยศาสตร์และหลักการของเพอร์มาคัลเชอร์ใหเ้ ขา้ กับพนื้ ทที่ ตี่ อ้ งการ
ใชง้ านจาเป็นจะตอ้ งมีกรอบหรือโครงรา่ งการออกแบบ นักออกแบบจะใชวิ้ธีการที่หลากหลายเพื่อจัดเรียงความคดิ และสื่อสารความคิดนั้นออกมา เครื่องมือที่ใชใ้ นการออกแบบมีดังนี้:
ระยะความยงั่ ยนื จากคยี ไ์ ลนข์ องโยแมน (Yeoman’s Keyline scale of permanence) (ภาพที่ 2) คานึงถึงเวลาและพลังงานที่ตอ้ งใชเ้พื่อการเปลี่ยนแปลงพื้นที่หรือระบบนิเวศน์ ดา้ นปลายสุดของเวลาและพลังงานที่ใชคื้อ "สภาพอากาศ"ซงึ่ ตอ้ งการเวลาและพลังงานมากที่สุด ส่วนดา้ นล่างสุดของทัง้ สองเสน้ คือ “ดิน”
สวน (Sectors) (ภาพที่ 3) ใชเ้พื่ออธบิ ายปัจจัยต่างๆที่มีผลกระทบต่อพื้นที่ ส่วนต่างๆเหล่านี้รวมถึงปรากฏการณ์ที่เกดิ ขนึ้ดว้ ยเช่นทศิ ทางขนึ้ ลงของพระอาทติ ย์ ทศิ ทางลมตามฤดูหรือลมที่มีอทิ ธิพลในแต่ละช่วง รูปแบบการใชพื้นที่เดนิ ทางไปมาของมนุษย์และสัตว์ และผลกระทบของเสียงและทัศนวสิ ัย
โซน (Zones) อธิบายการทางานร่วมกันของมนุษย์เพื่อรักษาพื้นที่ส่วนใดส่วนหนึ่งไว ้ ปกติแลว้ มักจะมี 6 โซน เเรียงตัวเลขตัง้ แต่ 0 – 5 โดยโซน 0 คือโครงสรา้ งบา้ นหรือสานักงานที่มีคนอาศัยหรือทางานอยู่ โซน 1 เป็นบริเวณทมีี่มนุษย์เดินทางไปมามากที่สุดของพื้นที่ โดยถา้ หากเป็นพื้นที่สาหรับอยู่อาศัย โซน 1 คือทางเดินระหว่างถนนเขา้ บา้ นและประตูหนา้ บา้ น และอาจรวมถึงลานบา้ นหรือในครัวทตี่ ดิ กันกับสวนผักหลังบา้ น โซน 2จะเป็นสวนผกั ทตี่ อ้ งปลูกทุกปีและไก่ โซน 3 จะเป็นตน้ ไมผ้ ลและทงุ่หญา้ หรือสนามหญา้ โซน 4 มีไมที้่ใชเ้ป็นเชื้อเพลิงหรือพลังงานและโซน 5 เป็นส่วนที่ปล่อยไวเ้ พื่อสังเกตและเรียนรูจ้ ากธรรมชาติ
V. การปฏบิตั /ิ วธิ ีการ
การผสมผสานหลายๆสายพนั ธุ์ (กลมุ่ พืช หรือ Plant Guilds) นักออกแบบเพอร์มาคัลเชอร์จะพยายามหาพืชทปี่ ลูกเรียงกันเป็นลาดับชัน้ ขนึ้ ไป (Canopy Levels) ของ “กลมุ่ พืช” เพอื่ ทาใหเ้ กดิ การเพมิ่ผลผลติ ทมีี่ทัง้ ปริมาณและความหลากหลายในระบบ อีกทัง้ ยังทาให้เกดิ ความมนั่ คงแข็งแรงต่อระบบ การทาวนเกษตรและการทาสวนในป่ าเป็นตัวอย่างทดีี่ของการใช ้ “กลมุ่ พืช” มีอีกตัวอย่างหนงึ่ ของ“กลมุ่ พืช” สาหรับเขตรอ้ นที่สามารถปลูกซอ้ นกันเป็นลาดับชัน้ ไดแ้ ก่มะม่วงทปี่ ลูกรวมกันกับพืชทชี่ อบทรี่ ่มคือเชอร์รไี่ ทย (Barbadoscherries) และชัน้ ต่าลงไปอีกคือตน้ คอมเฟรย์ (Comfrey) และผักกุยช่าย
วนเกษตร (ระบบการปลูกพืชหลายลาดับชัน้ พืชอายุหลายปีที่ใช ้เป็นอาหาร พลังงานและเสน้ ใย) ตัวอย่างก่อนหนา้ นี้เป็นตัวอย่างของ
“กลมุ่ พืช” ทเี่ ป็นตัวอย่างทดีี่ของพืชทจี่ ะปลูกในระบบวนเกษตร และระบบวนเกษตรไดถู้กออกแบบมาเพื่อใหม้ นุษย์ไดใ้ ชผ้ ลผลิตอย่างสูงสุดจากป่ าหลายชัน้ และในขณะเดียวกันก็ช่วยรักษาความหลากหลายและเพมิ่ ความอุดมสมบูรณ์ใหกั้บป่ าดว้ ย
ใหน้ า้ อยวางช้าๆและเก็บกกั นา้ น้าถือเป็นทรัพยากรสาคัญในระบบการเกษตรทุกรูปแบบ และการออกแบบเพอร์มาคัลเชอร์ที่ดีจะตอ้ งทาการรักษาระดับความชุ่มชื้นในระบบไวด้ ว้ ยการใชพ้ ลังงานนอ้ ยที่สุด คือมีการขุดร่องน้าใหน้ ้าทเี่ หลือไหลไป มีการรักษาน้าไวใ้ นฤดูแลง้ และช่วยใหน้ ้าซมึ จากหนา้ ดินลงไปถึงยังบริเวณรากพืช
ทาปุ๋ยหมกั การใส่ปุ๋ยหมักจะช่วยรักษาความอุดมสมบูรณ์และธาตุอาหารใหค้ งอยู่และถูกนาไปใชใ้ นวงจรของระบบนิเวศน์จากกองปุ๋ยหมักธรรมดาจนถึงระบบปุ๋ยหมักมูลไสเ้ ดือนดิน การทาปุ๋ยหมักจากสงิ่ ปฏิกูล ททีุ่กอย่างเป็นแหล่งความอุดมสมบูรณ์ควรถูกนาไปใชแ้ ละดูแลรักษาอย่างดีที่สุด
อาคารปลูกสรา้งทเี่ป็นธรรมชาติ หากเป็นไปได ้ควรพยายามใชวั้สดุที่หาไดใ้ นทอ้ งถิ่นและเป็นวัสดุที่นากลับมาใชไ้ดใ้หม่เมื่อตอ้ งการสรา้ งที่ปลูกสรา้ งที่เป็นที่อยู่อาศัย เพราะจะช่วยสนับสนุนเศรษฐกจิ ในทอ้ งถิ่นและอนุรักษ์ทรัพยากรที่ใชแ้ ลว้ ไม่สามารถหามาทดแทนได ้บา้ นทปี่ ลอดภัยและอยสู่ บายไม่จาเป็นตอ้ งมีลักษณะเหมือนบา้ นแบบตะวันตกในเมือง แบบและวัสดุทนี่ ามาจากต่างประเทศมักอยไู่ ม่ค่อยสบายและอาจปลอดภัยนอ้ ยกว่า ตัวอย่างที่ดีตัวอย่างหนึ่งคือการใชห้ ลังคามุงจากแทนหลังคาสังกะสี เพราะหลังคาสังกะสีมักจะไม่ทนต่อลมพายุหมุนเขตรอ้ น และยังถ่ายเทความรอ้ นจากแสดงแดดในเขตรอ้ น ทาใหบ้ า้ นรอ้ นจนอยู่ไม่ไดใ้ นช่วงกลางวัน
ขอ้คดิเห็นทมี่ตีวอเพอรม์าคลัเชอร ์
ขอ้ คิดเห็นหรือคาวิจารณ์อย่างหนงึ่ ทพี่ บอยบู่ ่อยๆ (ทบี่ างครัง้ เป็นจริง) ทมีี่ต่อกลมุ่ เพอร์มาคัลเชอร์คือกลมุ่ ผูส้ นับสนุนมักจะอา้ งถึงศักยภาพของผลผลติ หรือปัจจัยความเขม้ แข็งมนั่ คงของระบบโดยแทบจะไม่มขี อ้ มูลสนับสนุนที่น่าเชอื่ ถือได ้ เหตุทเี่ ป็นเช่นนี้เพราะการส่งเสริมและเอกสารขอ้ มูลของวิธีปฏิบัติเพอร์มาคัลเชอร์กระจายอยู่เป็นวงกวา้ ง และไม่มีองค์กรรัฐฯใดๆรับรอง
การกล่าวอา้ งของนักเพอร์มาคัลเชอร์และผูท้ เี่ ล่าเรอื่ งราวประสบการณ์เกยี่ วกับเพอร์มาคัลเชอร์ เมอื่ ไม่นานมานี้ ไดมี้การอภปิ รายอย่างตรงไปตรงมาภายในกลมุ่ เพอร์มาคัลเชอร์ว่าควรระมัดระวังมากขนึ้ ในการกล่าวอา้ งใดๆก็ตาม และควรแสวงหาการทางานร่วมกันกับคนอื่นและองค์กรอื่นที่สามารถช่วยตรวจสอบการปฏิบัติดว้ ยวทิ ยาศาสตร์ที่เหมาะสมและเพิ่มความสามารถให้กับชุมชนที่จะดาเนินการทดลองให้สาเร็จและนาผลข้อมูลที่มีประโยชน์นั้นนาไปใช้ได้ และ/หรือต่อยอดไปถึงการวิจัยอื่นๆ
ส่วนคาวิจารณ์อื่นที่พบบ้างเกี่ยวเพอร์มาคัลเชอร์มักจะเกี่ยวข้องกับรูปแบบการดาเนินชีวิตของนักเพอร์มาคัลเชอร์ ผู้ที่อยู่และเคยชินกับวิถีแบบตะวันตกที่ทันสมัยมักจะวิจารณ์และดูถูกผู้ที่มีลักษณะภายนอกที่แตกต่าง มากกว่าที่จะพยายามทาความเข้าใจมุมมองของคนๆนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าความแตกต่างนั้นท้าทายวิถีปฏิบัติที่เกี่ยวกับความสะดวกสบายในชีวิต
เพอร์มาคัลเชอร์ในงานพัฒนา
นักเพอร์มาคัลเชอร์หลายคนเห็นด้วยกับวิสัยทัศน์ยุคหลังอุตสาหกรรม (Post-industrial Vision) ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพราะเห็นว่าหลักการของเพอร์มาคัลเชอร์เป็นสิ่งที่จะเตรียมพร้อมสาหรับการใช้เครื่องจักรที่น้อยลง การลดลงของการกระจายตัวทางเศรษฐกิจทั่วโลก และโลกที่ถูกทาให้เป็นสังคมเมืองน้อยลง ผลก็คือ คนเหล่านี้มีมุมมองเกี่ยวกับขบวนการพัฒนาที่แตกต่างจากนักพัฒนาชาวตะวันตกที่มีวิธียึดถือปฏิบัติแบบเดิมๆ มุมมองนี้มีอิทธิพลต่อกรอบความคิดเกี่ยวกับ “อนาคตที่ดีกว่า” ของนักเพอร์มาคัลเชอร์ และส่งผลกระทบต่อทางเลือกของพวกเขาที่ให้ความสาคัญต่อแรงงานและทรัพยากร
ตัวอย่างที่สุดขั้วเช่น นักพัฒนาชาวตะวันตกแบบสมัยก่อนที่กาลังทางานกับเกษตรกรรายย่อยในเขตชนบทอาจกาลังพยายามสร้างห่วงโซ่อุปทานและผู้กระจายสินค้าที่จะช่วยให้เกษตรกรรายย่อยเข้าถึงตลาดโลก อาจมีการนาทรัพยากรจากสถานที่อื่นและทรัพยากรที่มีจากัดเข้ามาในพื้นที่เพื่อช่วยเพิ่มผลผลิตที่เป็นพืชเชิงเดี่ยวหรือพืชสายพันธุ์ใดสายพันธุ์หนึ่งที่ต้องปลูกทุกปี อาจมีการทาให้คนเห็นภาพว่าพื้นที่ของเกษตรกรรายย่อยเหล่านี้จะกลายเป็นพื้นที่ดาเนินการขนาดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพการผลิตที่เพิ่มขึ้น ดังนั้น จึงทาให้มีความต้องการกาลังแรงงานคนน้อยลงโดยที่ประสิทธิภาพในการทางานมีเพิ่มมากขึ้น ด้วยความหวังที่ว่าคนอื่นที่เหลืออยู่ที่ไม่มีงานทาจะหารายได้ที่ดีกว่าที่เคยได้จากการทากินในพื้นที่ของตน ความพยายามเหล่านี้มีการดาเนินการให้สาเร็จภายใต้การนาของภาพที่ถูกสร้างขึ้นว่าโลกอุตสาหรรมทันสมัยคือวิสัยทัศน์แห่งอนาคตที่ดีที่สุด เป็นการเพิ่มฐานเศรษฐกิจโดยการสร้างผู้บริโภคให้เพิ่มมากขึ้น โดยไม่มีอุปสรรคด้านข้อจากัดของทรัพยากรใดที่เทคโนโลยีเอาชนะไม่ได้ สภาพการทางานหนักด้วยแรงกายและวิถีชีวิตแบบชนบทที่ดาเนินมาในสมัยก่อนคือสภาพที่ทุกคนจะต้องได้รับการช่วยให้หลุดพ้นออกมา
ในทางตรงกันข้าม นักออกแบบเพอร์มาคัลเชอร์ที่ทางานในบริบทเดียวกันจะแสวงหาวิธีการที่ทาให้ชุมชนในชนบทเข้มแข็งและพึ่งตนเอง รวมทั้งปกป้องชุมชนนั้นจากอิทธิพลจากภายนอก นักเพอร์มาคัลเชอร์จะพยายามสร้างระบบนิเวศน์และระบบสังคมที่ตอบโจทย์ความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ และจากนั้นค่อยค้าขายผลผลิตที่มีเหลือ โดยให้มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด แทนที่จะสร้างผู้บริโภค นักเพอร์มาคัลเชอร์จะพยายามสร้างผู้ผลิตที่มีความมั่นคงแข็งแรงและประสบความสาเร็จให้อยู่และไม่ละทิ้งพื้นที่ของตน โดยมีความคิดว่าชีวิตของพวกเขามีคุณค่าและงานที่พวกเขาทาอยู่นั้นเป็นงานที่สาคัญและมีศักดิ์ศรี
เรื่องราวสวนตัวของผมเกี่ยวกับเพอร์มาคัลเชอร์
เมื่อประมาณ11 ปีที่แล้ว ผมนาเอาหลักการของเพอร์มาคัลเชอร์มาเป็นเครื่องมือในการออกแบบและเป็นแบบอย่างในมุมมองของการพัฒนามนุษย์ ขณะที่ผมกาลังรับงานใหม่ในฐานะ “นักพัฒนาชุมชม/มิชชันนารีการเกษตร” และได้ย้ายถิ่นฐานมาอาศัยในวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมใหม่ ผมเริ่มถามตัวเองด้วยคาถามง่ายๆว่า “เราจะพัฒนาเพื่ออะไร?”
ผมรู้สึกไม่ค่อยพึงพอใจกับคาตอบแรกๆที่ได้จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ผมมองเห็นธรรมชาติที่ไม่มีความยั่งยืนเลยแม้สิ่งเหล่านั้นจะมีคนเรียกว่ายั่งยืนก็ตาม ผมได้เห็นคุณภาพชีวิตที่เป็นคาสัญญาของโลกสมัยใหม่ที่นาพาคนตกลงไปสู่ห้วงลึกแห่งความทุกข์ลาเค็ญและความพ่ายแพ้ ผมได้เห็นว่าเมื่อผมพูดว่า “พัฒนา” ผมกาลังฉายภาพของชนชั้นกลางชาวอเมริกาออกมาให้คนดู และผมได้เห็นว่าวิถีการดาเนินชีวิตแบบนั้นกาลังบดขยี้ทาลายระบบนิเวศน์ของโลกนี้และวิถีชีวิตแบบนี้แหละเป็นสิ่งที่ไม่ยั่งยืน
ผมได้เริ่มมองหาคาตอบใหม่ๆ จากการอ่านและการค้นคว้า ทาให้ผมมารู้จักกับเพอร์มาคัลเชอร์ ที่ให้แนวคิดใหม่ๆว่าคนสามารถมีชีวิตอยู่อย่างเกิดผลและเป็นผลที่อุดมสมบูรณ์และในขณะเดียวกันคนก็เป็นผู้ถนุถนอมและดูแลรักษาธรรมชาติด้วย ผมเห็นว่าแทนที่จะวางภาพดินแดนในอุดมคติเท่านั้น แต่คู่มือออกแบบเพอร์มาคัลเชอร์และงานเขียนอื่นๆของเพอร์มาคัลเชอร์ได้ให้คาแนะนาเป็นขั้นเป็นตอนในการประเมินระบบธรรมชาติรอบๆตัวผมและวิธีการที่จะนาความเข้มแข็งมั่นคงและความอุดมสมบูรณ์เข้ามาในระบบธรรมชาติเหล่านั้น การออกแบบเพอร์มาคัลเชอร์ หรือการออกแบบเพื่อวัฒนธรรมที่ยั่งยืน
(Permaculture Design) ทาให้ผมมีวิธีที่เป็นระบบในการมองภาพใหญ่ และช่วยในการวางแผนและทดลองการเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป
เพอร์มาคัลเชอร์เป็นวิถีแห่งการดูแลรักษาที่ดี สาหรับผมแล้ว นี่เป็นวิธีหนึ่งที่จะทางานเพื่อแผ่นดินของพระเจ้า ผมมองหลักจริยศาสตร์ของเพอร์มาคัลเชอร์ (กล่าวไว้ก่อนหน้านี้) ผ่านมุมมองที่แตกต่างดังนี้ 1) แสดงความรักต่อผู้ที่มีพระฉายของพระเจ้า; 2) ขยันขันแข็งที่จะดูแลรักษาสิ่งทรงสร้างของพระเจ้า; และ 3) มีชีวิตอย่างพอเพียงและมีความสุขยินดีในการแบ่งปันสิ่งที่พระเจ้าจัดเตรียมให้
หลังจากที่ผมใช้หลักการของเพอร์มาคัลเชอร์ด้วยตัวเองมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง ผมได้เข้าเรียนหลักสูตรการออกแบบวัฒนธรรมที่ยั่งยืน (Permaculture Design Course) เพื่อเพิ่มทักษะและความมั่นใจในการใช้ขบวนการออกแบบนี้ การเรียนในชั้นนั้นท้าทายและมีประโยชน์จริงๆ เมื่อมีการออกแบบแนวคิดเพื่อให้เพื่อนร่วมชั้นและอาจารย์ผู้สอนประเมิน เราได้แลกเปลี่ยนมุมมองและประสบการณ์อันมีค่าและหาอะไรมาเทียบไม่ได้ และอย่างที่กล่าวไว้แต่ต้นว่าชั้นเรียนเพอร์มาคัลเชอร์มีการเปิดสอนในหลายรูปแบบ ในส่วนอ้างอิงจะมีลิงค์ของหลักสูตรที่เป็นที่เชื่อถืออย่างแพร่หลาย
สรุป
เพอร์มาคัลเชอร์เป็นแขนงหนึ่งของการเกษตรเพื่อสิ่งแวดล้อมที่กาลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆ และได้รับการยอมรับกันมากขึ้นว่าเป็นหลักการออกแบบที่มีคุณค่าทั้งในสถาบันของรัฐบาลและเอกชนทั่วโลก สามารถนาไปปรับใช้ได้กับระบบนิเวศน์และและวัฒนธรรมทุกๆที่ อีกทั้งยังนาเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาที่นาไปใช้ได้จริงมากกว่าการแก้ปัญหาแบบง่ายๆและรวดเร็ว เป็นการมองระบบนิเวศน์และระบบสังคมเป็นภาพรวมที่อยู่ควบคู่กัน ช่วยนาทางในการเป็นผู้ดูแลรักษาที่ดี และให้แนวทางที่นาไปสู่ความยั่งยืน ความเข้มแข็งมั่นคง และความอุดมสมบูรณ์ที่แท้จริง
แนะนาให้อวาน
หนังสือ:
Bane, Peter. The Permaculture Handbook: Garden Farming for Town and Country. BC, Canada: New Society, 2012.
Beyer, Hunter and Franklin Martin. Permacopia Book Three: Plants for Permaculture in Hawai’i, & other Tropical & Subtropical bioregions. Volcano, Hawai’i: Homescapes, 2000.
Falk, Ben. The Resilient Farm Homestead: An Innovative Permaculture and Whole Systems Design Approach. Chelsea Green Publishing, 2013.
Fukuoka, Masanobu. One-Straw Revolution: An Introduction to Natural Farming. NYRB Classics, 2009.
Holmgren, David. Permaculture: Principles and Pathways Beyond Sustainability. Hepburn, Vic: Holmgren Design Services, 2002.
Jacke, Dave and Eric Toensmeier. Edible Forest Gardens, Volume 1: Ecological Vision, Theory for Temperate Climate Permaculture. Vermont: Chelsea Green Publishing, 2005.
Jacke, Dave and Eric Toensmeier. Edible Forest Gardens, Volume 2: Ecological Design And Practice For Temperate-Climate Permaculture. Vermont: Chelsea Green Publishing, 2005.
Lancaster, Brad. Rainwater Harvesting for Drylands and Beyond, Vol 1: Guiding Principles to Welcome Rain into Your Life and Landscape, 2nd ed. Arizona: Rainsource Press, 2013.
Lancaster, Brad. Rainwater Harvesting for Drylands and Beyond, Vol 2: Water-Harvesting Earthworks. Arizona: Rainsource Press, 2013.
Martin, Franklin. Plants for Use in Permaculture in the Tropics, 2nd Edition. Florida: Yankee Permaculture, 2009.
Mollison, Bill. Permaculture: A Designers’ Manual. Tyalgum, Australia: Tagari Publications, 1988.
Morrow, Rosemary. Earth User’s Guide to Permaculture. Kangaroo Pr, 1994.
Savory, Allan. Holistic Management: A New Framework for Decision Making, 2nd ed. Island Press, 1998.
Toensmeier, Eric. Perennial Vegetables: From Artichoke to ‘Zuiki’ Taro, a Gardener’s Guide to over 100 Delicious, Easy-to-Grow Edibles. Chelsea Green Publishing, 2007.
Yeomans, P. A. Water For Every Farm: Yeomans Keyline Plan, 4th ed. CreateSpace Independent Publishing Platform, 2008.
นิตยสาร:
Acres USA – www.acresusa.com
Permaculture Design Magazine – www.permaculturedesignmagazine.com
อินเตอร์เน็ต:
http://holmgren.com.au/permaculture/
https://www.facebook.com/mpcnetwork.org
http://www.thepermaculturepodcast.com/
อ้างอิง:
Ferguson, Rafter Sass. “Wait... you’re studying what again? (Part 2): What do you mean by permaculture?” Liberation Ecology, November 14, 2012, http://liberationecology.org/2012/11/14/ wait-youre-studying-what-again-part-2/
Ferguson, Rafter Sass. “The convenience and poverty of simple defi nitions” Liberation Ecology, June 13, 2013, http://liberationecology. org/2013/06/13/the-convenience-and-poverty-of-simple-defi nitions/
Ferguson, Rafter Sass. “Continuing the Conversation – Permaculture as a Movement” Liberation Ecology, June 25, 2013, http://liberationecology. org/2013/06/25/continuing-the-conversation-permaculture-as-a-movement/
Hemenway, Toby. “What Permaculture Isn’t—and Is,” November 18, 2012, http://www.patternliteracy.com/668-what-permaculture-isnt-and-is