ECHO Asia Note Articles
ECHO Asia Notes is a quarterly technical e-bulletin containing articles of interest to agriculture and community development workers in Asia.
This list contains articles from ECHO Asia Notes, many of which have been translated into regional languages.
101 ฉบับสำหรับการตีพิมพ์ครั้งนี้ (แสดงปัญหา 29 - 25) ก่อนหน้า | ถัดไป
การวินิจฉัยอาการขาดธาตุอาหารของพืชไร
- นอกจากนี้ยังมี:
- English (en)
- မြန်မာ (my)
- Bahasa Indonesia (id)
- 汉语 (zh)
- ភាសាខ្មែរ (km)
This article is from ECHO Asia Note #29
คำนำ
คํากล่าวโบราณที่ว่า ‘คุณจะแก ้ปัญหาไม่ได้ถ้า คุณไม่รู้ว่าคุณมีปัญหา’ เป็นค ากล่าวที่สนับสนุน วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของการวินิจฉัยอาการ ขาดธาตุอาหารในพืชได้เป็นอย่างดี เป็นเวลานานมาแล้วที่เกษตรกรและนักวิทยาศาสตร์ ท างานร่วมกันเพื่อหาอาการที่ปรากฏให้เห็นด้วย ตาเพื่อใช ้พิจารณาถึงการขาดธาตุอาหารในพืชไร่ หลายชนิด ร่องรอยและอาการที่แสดงออกมานี้ จะเป็นประโยชน์อย่างมาก โดยเฉพาะเมื่อไม่สามารถใช ้วิธีการทดสอบดินและเนื้อเยื่อต ้นพืช ได ้
การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ในเขตร้อน: ประสบการณ์ที่เรียนรู้จากกลุ่มเครือข่าย
This article is from ECHO Asia Note #28 : บทความนี้มาจาก สารเอคโค ฉบับที่ 28
การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เป็นเรื่องที่ยากมากสำหรับเกษตรกรและนักศึกษาวิจัยที่อยู่ในเขตร้อน ในจังหวัดมณฑลคีรี น้อยมากที่เกษตรกรจะสามารถเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ไว้ให้อยู่นานเกิน 6 เดือน คือช่วงระหว่างเก็บเกี่ยวเสร็จถึงฤดู เพาะปลูกใหม่ เมล็ดที่เก็บไว้นานเกินกว่านั้นมักจะเจอความชื้นในบรรยากาศช่วงฤดูฝนทำให้ปลูกไม่ขึ้น หรือไม่ก็เกิด ความเสียหายจากแมลงที่แพร่พันธุ์อย่างรวดเร็วและกัดกินเมล็ดจนเสียหาย ที่ศูนย์แหล่งเรียนรู้ของเรา เราต้องการเก็บ สะสมเมล็ดพันธุ์หลายชนิดที่มีประโยชน์โดยไม่ต้องนำเมล็ดแต่ละชนิดออกมาปลูกทุกปี แต่ก็พบปัญหาคล้ายกับเกษตรกรคือเมล็ดพันธุ์ของเราแม้เก็บไว้ไม่นานก็มักจะปลูกไม่ค่อยขึ้นหรือไม่ก็ถูกแมลงกัดกินขณะที่เก็บรักษาไว้
การแช่เย็นหรือแช่แข็งเมล็ดพันธุ์ที่มีอายุการเก็บนาน (Orthodox Seeds) เป็นวิธีการที่รู้จักกันดีอยู่แล้วที่จะทำให้เมล็ด พันธุ์เก็บไว้ได้นาน (ดูสารเอคโคเอเชีย ฉบับที่ 14 “การปิดผนึกสุญญากาศและการแช่เย็น”) แต่วิธีนี้อาจนำไปใช้ได้ยากในเขตจังหวัดมณฑลคีรีที่ไม่ค่อยมีไฟฟ้าเข้าถึง และถึงมีไฟฟ้าก็ดับบ่อยและราคาแพง โดยความร่วมมือกับเอคโค เอเชียและเงินทุนสนับสนุนจากโครงการเพรสไบทีเรียน ฮังเกอร์ โปรแกรม เจ้าหน้าที่ที่ศูนย์ Ntuk Nti จึงได้ทำงาน ศึกษาวิจัยในช่วงปีที่ผ่านมาเพื่อออกแบบและทดสอบวิธีการที่เหมาะสมในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ในบทความนี้เราจะ แบ่งปันผลจากการศึกษาซึ่งเป็นวิธีที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงวิธีการเก็บเมล็ดพันธุ์ที่เคยท ามาโดยไม่ใช้ไฟฟ้า เป็น วิธีการที่เกษตรกรที่ยากจนที่สุดและอยู่ห่างไกลที่สุดก็สามารถน าไปใช้ได้
อาหารเลี้ยงสัตว์ที่ผลิตจากวัตถุดิบในฟาร์ม: การทำอาหารไก่
This article is from ECHO Asia Note #28
ความอุดมสมบูรณ์ที่เกิดขึ้นในฟาร์มทำให้ เกิดระบบการเกษตรที่ยั่งยืนมากขึ้น เศษวัสดุจากผลผลิตและมูลสัตว์เป็นส่วนของ วงจรธาตุอาหารสำหรับพืชและช่วยลดต้นทุนด้วยการใช ้ปุ๋ยหมัก, การเลี้ยงไส้เดือน, การทำปุ๋ยโบกาชิ และ/รวมถึง ปุ๋ยพืชสด นอกจากนั้นอาหารที่ได้จากวัตถุดิบในฟาร์ม ยังสามารถลดค่าใช้จ่ายได้ ถ้าเกษตรกรมีการจัดการและใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยเฉพาะไก่นั้นเป็นสัตว์ที่มีค่าใช้จ่ายที่สูงมากในการเลี้ยงในพื้นที่ขนาดเล็ก ถ้าต้องเลี้ยงด้วยอาหารที่ซื้อมา ในสารเอคโค่ เอเชียนี้ เราจะพิจารณาถึงทางเลือกอื่นที่จะนำมาใช้เป็นอาหารสำหรับไก่และ อาจรวมถึงสัตว์ปีกอื่นๆ
ส่วนผสมของอาหารไก่จะต่างกันไปตามพื้นที่ที่มีการเลี้ยงไก่ทั่วโลก การเลือกนั้นมักจะขึ้นอยู่กับว่ามีอะไรให้เลือก คุณภาพเป็นอย่างไรและราคาเท่าไร ในขณะที่การใช ้วัตถุดิบอื่นๆต้องคำนึงถึงหลักการทางวิทยาศาสตร์ เช่นโปรตีนหยาบหรือโปรตีนที่ย่อยได้ ประโยชน์ด้านโภชนาการของวัตถุดิบเหล่านี้ยังไม่ได้มีการวิจัยที่แน่นอนหรือแน่ชัด ไก่นั้นเป็นสัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหารและเติบโตได้ดีด้วยการเลี้ยงแบบปล่อย เลี้ยงในกรง หรือแม ้แต่ในสภาพพื้นที่ป่าที่ไม่จำกัดบริเวณไว ้ ในบทความนี้ ผมจะแบ่งปันวิธีการที่จะใช ้วัตถุดิบจากฟาร์มให้มากที่สุดในการทำอาหารไก่ที่เลี้ยงแบบปล่อย โดยจะใช ้อาหารที่เป็นธรรมชาติที่สุดเท่าที่จะหาได ้ตามความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ จากนั้นจะอธิบายถึงการทำให้อัตราอาหารเข้มข้นขึ้นในกรณีที่คุณมีพื้นที่ที่ไม่มากที่ให้ไก่ได้ออกกำลังกายหรือ ต้องเลี้ยงไก่ไว้ในกรงหรือในพื้นที่จำกัด
การวัดปริมาณจุลินทรีย์ในดิน
- นอกจากนี้ยังมี:
- Bahasa Indonesia (id)
- Tiếng Việt (vi)
- ភាសាខ្មែរ (km)
- မြန်မာ (my)
- 汉语 (zh)
- English (en)
This article is from ECHO Asia Note #27
ที่มา
ตั้งแต่เดือนกันยายน ถึงพฤศจิกายน ปี 2557 และอีกครั้งในเดือนกรกฏาคมและสิงหาคม ปี 2558 เอคโค เอเชียได้ผลิตและทดสอบน้ำยากำจัดวัชพืชโดยใช้ส่วนผสมที่มีอยู่ตามท้องถิ่น โดยจัดทำขึ้นที่ธนาคารเมล็ดพันธุ์เอคโค เอเชียที่อำเภอแม่อาย (ดูสารเอคโค เอเชีย ฉบับที่ 26: “การทำและการทดสอบน้ำยากำจัดวัชพืชทางเลือกสำหรับนำไปใช้ในเกษตรกรรายย่อย”) ที่ได้แสดงถึงประสิทธิภาพในการควบคุมปริมาณวัชพืชในแปลงทดลอง โดยน้ำยากำจัดวัชพืชนี้ประกอบไปด้วยมะละกอสุกหรือสับปะรด, เกลือ และโซดาไฟ (ที่มีฤทธิ์เป็นด่างสูง) เราต้องการทดสอบดูว่าการฉีดพ่นน้ำยาที่มีฤทธิ์เป็นด่างจะมีผลอย่างไรบ้างต่อค่าpHในดิน โครงสร้างของดิน ความแข็งแรงของพืชที่ปลูกและปริมาณความหนาแน่นของจุลินทรีย์ มีนักวิทยาศาสตร์บางคนพบว่าปัจจัยที่ใช้ในการเกษตรเช่นน้ำยากำจัดศัตรูพืชและเชื้อรากำจัดศัตรูพืชมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณจุลินทรีย์ เนื่องจากความเสถียรของปริมาณพืชขนาดเล็กในดิน (soil microflora)เป็นสิ่งที่สำคัญมากต่อขบวนการต่างๆเช่น วัฎจักรของธาตุอาหารและการเกิดเม็ดดิน (aggregation) เราจึงต้องเฝ้าติดตามความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นได้ต่อสิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน์เหล่านี้ อย่างไรก็ตามการทดสอบปริมาณจุลินทรีย์มักจะต้องปฏิบัติการในห้องทดลองและมีค่าใช้จ่ายสูง เอคโค เอเชียจึงพยายามทดลองจัดทำเกณฑ์วิธีที่เหมาะสม ใช้งานได้จริง และมีประโยชน์ในการเฝ้าดูการเปลี่ยนแปลงปริมาณประชากรจุลินทรีย์ในดิน
การสร้างห้องเย็นที่มีประสิทธิภาพสำหรับการเก็บเมล็ดพันธุ์
- นอกจากนี้ยังมี:
- Tiếng Việt (vi)
- Bahasa Indonesia (id)
- ភាសាខ្មែរ (km)
- မြန်မာ (my)
- 汉语 (zh)
- English (en)
This article is from ECHO Asia Note #27
เมื่อวางแผนการสร้าง “ห้องเย็น” หรือ “ห้องเก็บเมล็ดพันธุ์” เพื่อจุดประสงค์คือการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ให้มีชีวิต สิ่งแรกที่ต้องคำนึงถึงคือหลักการของห้องเก็บที่เหมาะสมที่สุด ในสาร เอคโค เอเชีย 14 (ก.ค 2012) เราได้พูดถึงผลจากการเปรียบเทียบการผนึก สูญญากาศและการแช่เย็น และได้เน้นถึงความสำคัญของการควบคุมความชื้นและควบคุมอุณหภูมิในการเก็บเมล็ดพันธุ์ เราพบว่าในการรักษาเมล็ดพันธุ์ให้มีชีวิตนั้น การควบคุมความชื้น (การผนึกสูญญากาศ) เป็นวิธีที่ใช้ได้ผลกว่าการควบคุมอุณหภูมิ (แช่เย็น) จากประสบการณ์ของเอคโค เอเชีย คือเมล็ดในเขตร้อนชื้นจะเก็บรักษาได้ดีที่สุดด้วยการปิดผนึกแบบสูญญากาศหลังจากตากแห้งแล้ว (เพื่อรักษาให้ความชื้นในเมล็ดอยู่ในระดับต่ำ) จากนั้นจึงเก็บเมล็ดไว้ในที่เย็น ในการออกแบบห้องเย็นเพื่อให้เหมาะสมกับการเก็บเมล็ดพันธุ์นั้นสิ่งสำคัญคือฉนวนและความเย็น แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าหากไม่มีตัวควบคุมความชื้นที่เหมาะสม ขบวนการที่ทำให้เกิดความเย็นจะดึงเอาความชื้นจากภายนอกเข้ามาและทำให้เกิดการควบแน่นที่ทำให้ความชื้นเพิ่มสูงขึ้น ในกรณีที่เมล็ดพันธุ์ไม่ได้บรรจุเก็บไว้ในถุงผนึกสูญญากาศ หรือถ้าถุงฉีกขาด ความชื้นก็จะทำให้เมล็ดพันธุ์เสียหาย
บทนำเกี่ยวกับกอง, อ่างเก็บน้ำและแบบจำลองข้าวเปลือกของการจัดการน้ำ - 15-12-2015
- นอกจากนี้ยังมี:
- Bahasa Indonesia (id)
- 汉语 (zh)
- ភាសាខ្មែរ (km)
- မြန်မာ (my)
- English (en)
- Tiếng Việt (vi)
ฉบับที่ 26 เดือนธันวาคม 2015
บทแนะนาการจัดการน้า “โคก หนอง นา โมเดล”
ย่อจากบทความของวารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ เดือนกันยายน 2015โดย บุญส่ง ธารสีทอง ผู้จัดการฝ่ายการเกษตรของเอคโค เอเชีย อิมแพ็ค เซนเตอร์[บก: บทความเกี่ยวกับการจัดการน้าได้นามาพิมพ์ซ้าโดยได้รับอนุญาตจากวารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ และเป็นคาแนะนาเบื้องต้นสาหรับการจัดการน้าของเกษตรกรรายย่อย แนวคิดหลายอย่างที่นาเสนอในบทความเหล่านี้สอดคล้องกับหลักการออกแบบเกษตรผสมผสาน(permaculture) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ส่งเสริมให้เกษตรกรมีภูมิต้านทานต่อสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงแบบสุดโต่ง]
การทำและทดสอบสารกำจัดวัชพืชทางเลือกสำหรับเกษตรกรรายย่อย
- นอกจากนี้ยังมี:
- Tiếng Việt (vi)
- ភាសាខ្មែរ (km)
- Bahasa Indonesia (id)
- 汉语 (zh)
- မြန်မာ (my)
- English (en)
This article is from ECHO Asia Note #26
ครั้งแรกที่เจ้าหน้าที่ศูนย์เอคโค เอเชีย อิมแพ็ค ได้ยินเกี่ยวกับน้ายากาจัดวัชพืชแบบทางเลือกของสูตรที่ใช้มะละกอและสับปะรดหมักของคุณครูประทุมผู้อยู่ในวัยเกษียณแล้ว เนื่องจากการกาจัดวัชพืชเป็นเรื่องใหญ่สาหรับชีวิตเกษตรกรทุกคน เจ้าหน้าที่ที่ธนาคารเมล็ดพันธุ์จึงต้องการจะทดสอบน้ายากาจัดวัชพืชที่มีความเสี่ยงน้อยนี้ว่าจะใช้ได้ผลแค่ไหน นอกจากนี้เพื่อให้แน่ใจด้วยว่าน้ายากาจัดวัชพืชนี้จะไม่เป็นอันตรายต่อค่า pH ในดิน, ต่อสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในดิน, โครงสร้างของดิน รวมถึงการดูดซึมของพืชและการเติบโตของพืช ข้อมูลงานวิจัยของเอคโคฉบับนี้อธิบายถึงขั้นตอนที่ใช้เพื่อการผลิตน้ายากาจัดวัชพืชชนิดนี้ พร้อมกับวิธีการทดสอบเพื่อให้รู้ถึงประสิทธิของน้ายาที่มีผลต่อวัชพืช ส่วนข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการทดสอบผลกระทบต่อสภาพดินและสิ่งมีชีวิตในดินนั้นท่านสามารถติดตามได้ในอนาคต
ตัวเลือกสำหรับฟาร์มเลี้ยงเด็กเล็ก: หลักการออกแบบการจัดการน้ำ - 01-09-2015
- นอกจากนี้ยังมี:
- English (en)
- Bahasa Indonesia (id)
- မြန်မာ (my)
- ភាសាខ្មែរ (km)
- 汉语 (zh)
- Tiếng Việt (vi)
ช่วงต้นปีที่ผ่านมา ประเทศไทยประสบปัญหาภัยแล้งหนักที่สุดในรอบ 20 ปี และย้อนกลับไปเมื่อ 4 ปีที่แล้ว เราก็เผชิญกับมหาอุทกภัยครั้งใหญ่ที่สุดอีกครั้งหนึ่ง ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นนับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น การจะตั้งรับกับภัยพิบัติเหล่านี้จึงเป็นสิ่งจาเป็น ซึ่งการออกแบบพื้นที่ตามหลักโคก หนอง นา โมเดล หรือการสร้างหลุมขนมครกตามที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชทานแนวพระราชดาริไว้ เป็นแนวทางการรับมือกับภัยพิบัติเรื่องน้า ไม่ว่าจะเป็นน้าท่วม หรือน้าแล้ง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กรณีศึกษาการจัดการน้ำฟาร์มขนาดเล็ก: การต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการส่งเสริมความพอเพียง
- นอกจากนี้ยังมี:
- ភាសាខ្មែរ (km)
- English (en)
“ปีนี้น้าในเขื่อนป่าสักฯแห้งจนเห็นซากของวัด ต้นไม้ สิ่งปลูกสร้าง มันเห็นหมด น้ามันแห้ง วิกฤติจริงๆ แต่ถ้าเกิดว่าอีกสักครึ่งเดือนฝนไม่ตก เราจะวิกฤติหนักกว่านี้อีก เพราะน้าดิบไม่มี ทาประปาไม่ได้ ทาน้าดื่มไม่ได้ น้าเป็นสิ่งสาคัญ ทั้งน้ากิน น้าใช้ เอามาบริโภค เรารณรงค์ 9 วันเรื่องเดียวคือเรื่องน้า เพราะบางที่ไม่มีน้าอาบ ไม่มีน้าหุงต้มกันเลย มันวิกฤติจริงๆ จะไปขอน้าจากที่อื่นมา ที่อื่นก็ไม่มีเหมือนกัน มันเกิดวิกฤติขั้นนั้นจริงๆ” นี่คือคาบอกเล่าของคนในพื้นที่สุมน้าป่าสัก ถึงสภาพวิกฤติน้าแล้งในปีนี้ อย่างไรก็ตาม เราสามารถจัดการพื้นที่ของเราให้รอดพ้นจากภาวะภัยแล้งนี้ได้ ด้วยหลัก โคก หนอง นา โมเดล ดังตัวอย่างพื้นที่ที่ลงมือทาจริง ที่ตาบลหนองโน อาเภอเมือง จังหวัดสระบุรี
“พื้นที่ตอนนี้เราคานวณแล้ว เราเก็บน้าได้ 300% หนึ่งน้าฝน สองจากน้าชลประทานที่ปล่อยมาให้ และสามน้ำจากคนที่เขาไม่เก็บกัน เขาไม่มีหนองเก็บ เราก็ดึงน้าปล่อยน้าเข้าสวนเราทั้งหมด” คุณบุญล้อม เต้าแก้ว
ความสมดุลและข้อควรระวังเกียวกับพืชอาหารสัตว์เขตร้อนชื้น - 01-08-2015
This article is from ECHO Asia Note #25
ภาษาไทยอยู่ระหว่างการแปลจะดำเนินการอัพโหลดเร็ว ๆ นี้คะ